1094 1992 1068 1783 1785 1567 1508 1180 1901 1505 1378 1411 1982 1083 1178 1511 1558 1045 1863 1854 1163 1504 1042 1480 1094 1320 1975 1718 1610 1665 1014 1061 1678 1198 1934 1188 1473 1770 1376 1459 1235 1944 1511 1166 1463 1910 1006 1049 1076 1224 1299 1108 1105 1287 1126 1953 1526 1572 1558 1157 1569 1498 1037 1259 1795 1123 1898 1866 1109 1485 1900 1598 1334 1462 1908 1914 1687 1051 1959 1838 1796 1847 1193 1696 1866 1538 1619 1190 1306 1847 1273 1690 1170 1684 1053 1882 1482 1542 1440 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
สารบัญ Review โดย ไม่พบชื่อเจ้าหน้าที่ห้องสมุด nichaporn เมื่อ12/กุมภาพันธ์/2563
Part 1 Resuscitation
บทที่ 1 การกู้ชีพขั้นสูงในผู้ใหญ่
บทที่ 2 การช่วยชีวิตขั้นสูงในผู้ป่วยเด็ก
บทที่ 3 การกู้ชีพทารกแรกเกิด
บทที่ 4 ภาวะฉุกเฉินจากค่าโซเดียมในเลือดผิดปกติ
บทที่ 5 ภาวะฉุกเฉินจากค่าโพแทสเซียมในเลือดผิดปกติ
บทที่ 6 ภาวะฉุกเฉินจากค่าแคลเซียมในเลือดผิดปกติ
บทที่ 7 แอนาฟิแล็กซิส
บทที่ 8 การจัดการทางเดินหายใจเบื้องดันในภาวะฉุกเฉิน
บทที่ 9 การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในกาวะช็อก
บทที่ 10 การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
บทที่ 11 ชนิดของสารน้ำ
บทที่ 12 ขั้นตอนการใส่ท่อช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินและการใส่ท่อช่วยหายใจแบบเร็ว
บทที่ 13 การคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน
บทที่ 14 การช็อกไฟฟ้าหัวใจ
บทที่ 15 การทำ transcutaneous pacing

Part 2 Analgesia Anesthesia and Procedural Sedation
บทที่ 16 การบรรเทาปวดในผู้ป่วยฉุกเฉิน
บทที่ 17 การรักษาด้วยออกซิเจน

Part 3 Cardiovascular disease
บทที่ 18 ทางด่วนโรคหัวใจขาดเลือด
บทที่ 19 ภาวะเซาะแยกของผนังหลอดเลือดแดงเออร์ต้า
บทที่ 20 ภาวะฉุกเฉินทางความดันโลหิตสูง
บทที่ 21 โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
บทที่ 22 ภาวะหัวใจถูกบีบรัด

Part 4 Pulmonary Emergencies
บทที่ 23 ภาวะน้ำซึมผ่านในช่องเยื่อหุ้มปอด
บทที่ 24 วัณโรคปอด
บทที่ 25 ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศชนิดเกิดขึ้นเอง
บทที่ 26 โรคหืด
บทที่ 27 โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
บทที่ 28 ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำที่ปอด
บทที่ 29 การช่วยหายใจโดยใช้หน้ากากในภาวะหอบฉุกเฉิน

Part 5 : Gastrointestinal Emergencies
บทที่ 30 ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
บทที่ 31 โรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
บทที่ 32 โรคตับแข็งและภาวะแทรกซ้อน
บทที่ 33 โรคไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน
บทที่ 34 โรคถุงตันที่ลำไส้ใหญ่อักเสบ
บทที่ 35 ความผิดปกติของทวารหนัก

Part 6 Renal and Genitourinary Disorders
บทที่ 36 ภาวะกล้ามเนื้อลายสลาย
บทที่ 37 การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ

Part 7 Obstetrics and Gynecology
บทที่ 38 ภาวะแท้ง
บทที่ 39 การดูแลผู้ป่วยถูกข่มขืนกระทำชำเรา
บทที่ 40 อาการชักขณะตั้งครรภ์
บทที่ 41 ภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
บทที่ 42 การคลอดก่อนถึงโรงพยาบาล
บทที่ 43 ภาวะตกเลือดหลังคลอด
บทที่ 44 การคลอดฉุกเฉิน ณ ห้องฉุกเฉิน

Part 8 Infectious Diseases
บทที่ 45 ภาวะการติดเชื้อรุนแรงและอาการช็อกจากการติดเชื้อ
บทที่ 46 ภาวะลิ้นหัวใจติดเชื้อ
บทที่ 47 โรคมาลาเรีย
บทที่ 48 โรคไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกี
บทที่ 49 การติดเชื้อฉวยโอกาสในของผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในห้องฉุกเฉิน
บทที่ 50 แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางการแพทย์

Part 9 Neurology
บทที่ 51 ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง
บทที่ 52 การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง
บทที่ 53 อาการปวดศีรษะ
บทที่ 54 โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน
บทที่ 55 อาการวิงเวียนศีรษะ
บทที่ 56 ภาวะชักต่อเนื่อง

Part 10 Toxicology
บทที่ 57 การดูแลทั่วไปในผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษในห้องฉุกเฉิน
บทที่ 58 ยารักษาโรคซึมเศร้าชนิด Tricyclic
บทที่ 59 ยารักษาโรคซึมเศร้ากลุ่ม SSRI
บทที่ 60 ยารักษาโรคจิตเวช
บทที่ 61 ยาลิเธียม
บทที่ 62 ยานอนหลับ
บทที่ 63 แอลกอฮอล์
บทที่ 64 ภาวะหัวใจหยุดเต้นหรือหยุดหายใจที่เกี่ยวข้องกับภาวะสารหรือ
            ยากลุ่มโอปีออยด์เกินขนาด
บทที่ 65 ยาบ้า
บทที่ 66 ภาวะพิษจากยาพาราเซตามอลเกินขนาด
บทที่ 67 ยาโรคหัวใจกลุ่มดิจิตาลิส
บทที่ 68 ภาวะพิษจากสาร Organophosphate และ Carbamate 
บทที่ 69 ภาวะเป็นพิษจากพาราควอท
บทที่ 70 ภาวะเมทฮีโมโกลบินในเลือด
บทที่ 71 ภาวะพิษจากไซยาไนด์

Part 11 Environmental Injuries
บทที่ 72 ภาวะฉุกเฉินจากความร้อน 
บทที่ 73 งูพิษกัด
บทที่ 74 การดูแลผู้ป่วยถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกัด
บทที่ 75 สัตว์ที่สร้างพิษเทโทรโดท็อกซิน
บทที่ 76 เห็ดพิษ

Part 12 Endocrine Emergencies
บทที่ 77 ภาวะฉุกเฉินในผู้ป้วยเบาหวาน
บทที่ 78 ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
บทที่ 79 ภาวะกรดดีโตนดั่งจากการดื่มสุรา
บทที่ 80 ภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษวิกฤต
บทที่ 81 ภาวะพิษจากฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
บทที่ 82 ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่องชนิดเฉียบพลัน

Part 13 Hematologic and Oncologic Emergencies
บทที่ 83 ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก Warfarin
บทที่ 84 เลือดและส่วนประกอบของเลือด
บทที่ 85 ภาวะฉุกเฉินของโรคมะเร็ง

Part 14 Trauma
บทที่ 86 การดูแลผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล
บทที่ 87 การถอดหมวกนิรภัย
บทที่ 88 การใส่ปลอกคอชนิดแข็ง
บทที่ 89 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทั้งตัวเหมือนท่อนไม้กลิ้ง และการใส่แผ่นกระดานรองหลังชนิดยาว
บทที่ 90 การดูแลผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล : ทางเดินหายใจและการหายใจ
บทที่ 91 การทารุณกรรมเด็ก
บทที่ 92 การดูแลผู้มาดเจ็บจากบาดแผลไฟไหม้นอกโรงพยาบาล
บทที่ 93 การบาดเจ็บที่ศีรษะ
บทที่ 94 การจัดการอุบัติภัยหมู่
บทที่ 95 การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในผู้ปวยอุบัติเหตุ

Part 15 Rheumatological emergencies
บทที่ 96 ภาวะข้ออักเสบ

Part 16 Skin Disorders
บทที่ 97 โรคติดเชื้อที่มีอาการแสดงทางผิวหนังในห้องฉุกเฉิน
บทที่ 98 ผื่นแพ้ยา

Part 17 Pediatric Emergency
บทที่ 99 การดูแลผู้ป่วยเด็ก
บทที่ 100 ภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจจากสิ่งแปลกปลอม

Part 18 Procedure in Emergency Department
บทที่ 101 การติดตามการไหลเวียนโลหิตในห้องฉุกเฉิน
บทที่ 102 การผ่าตัดเปิดทางเดินหายใจฉุกเฉิน
บทที่ 103 การให้สารน้ำทางไขกระดูก
บทที่ 104 การใส่สายสวนเข้าหลอดเลือดดำใหญ่

Part 19 Forensic
บทที่ 105 นิติเวชในห้องฉุกเฉิน

Part 20 Emergency Imaging : Non-traumatic
บทที่ 106 ภาวะเลือดออกในสมองเฉียบพลันที่ไม่ใช่จากอุบัติเหตุ
บทที่ 107 ภาวะสมองขาดเลือดจากโรคหลอดเลือดสมองตีบ
บทที่ 108 ภาวะทางเดินหายใจส่วนบนอุดกันเฉียบพลันในเด็ก
บทที่ 109 ภาวะน้ำท่วมปอดเฉียบพลัน
บทที่ 110 อาการปวดท้องเฉียบพลัน
บทที่ 111 ภาวะลมรั่วในช่องท้อง
บทที่ 112 ภาวะลำไส้เล็กอุดกั้น
บทที่ 113 ภาวะปวดท้องด้านขวาบนเฉียบพลัน
บทที่ 114 ภาวะปวดท้องน้อยด้านขวาเฉียบพลัน
บทที่ 115 ภาวะปวดท้องน้อยเฉียบพลันในหญิงวัยเจริญพันธุ์
บทที่ 116 การมีลมในผนังลำไส้
บทที่ 117 ภาวะหลอดเลือดแดง abdominal aorta แตก
บทที่ 118 ภาวะปวดสีชังฉับพลันในผู้ใหญ่ที่สงสัยว่าเป็นนิ่วในทางเดินปัสสาวะ

Part 21 Emergency Imaging : Trauma
บทที่ 119 แนวทางการใช้ภาพวินิจฉัยในการประเมินผู้บาดเจ็บ
บทที่ 120 การบาดเจ็บที่ศีรษะ
บทที่ 121 การบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ
บทที่ 122 การบาดเจ็บของทรวงอก
บทที่ 123 การบาดเจ็บของช่องท้องในผู้ใหญ่ที่ไม่ได้เกิดจากวัตถุมีคม
บทที่ 124 การบาดเจ็บต่อกระดูกและข้อ

 

E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    13399129397
003     ULIBM
008    020711s2561 th a 000 0 tha d
020    9786162791833
060    WB105 E53 2561
100    บรรณาธิการ, ไชยพร ยุกเซ็น
245    Emergency care: The pocket guide book
250    พิมพ์ครั้งที่ 6
260    กรุงเทพฯ :^bมหาวิทยาลัยมหิดล,^c2561
300    748 หน้า ;^c19 ซม.
501    Bookshelf: WB 1/2
700 0  บรรณาธิการ, ธาวินี ไตรณรงค์สกุล
700 0  บรรณาธิการ, ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา
999    ^aนางสาวณิชาพร เกตุศีระ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ
1.
WB105 E53 2561 c.1 
  
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
►หนังสือทั่วไป
On Shelf
2.
WB105 E53 2561 c.2 
  
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
►หนังสือทั่วไป
On Shelf
3.
WB105 E53 2561 c.3 
  
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
►หนังสือทั่วไป
On Shelf
4.
WB105 E53 2561 c.4 
  
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
►หนังสือทั่วไป
On Shelf
5.
WB105 E53 2561 c.5 
  
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
►หนังสือทั่วไป
On Shelf
   [แสดง 5/5 รายการ]

Bib 13399129397